เพรซีโอดิเมียม(III) ออกไซด์
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
Praseodymium(III) oxide
| |
ชื่ออื่น
Praseodymium oxide, Praseodymium sesquioxide
| |
เลขทะเบียน | |
ECHA InfoCard | 100.031.665 |
EC Number |
|
ผับเคม CID
|
|
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
คุณสมบัติ | |
Pr2O3 | |
มวลโมเลกุล | 329.813 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | white hexagonal crystals |
ความหนาแน่น | 6.9 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 2183 °C |
จุดเดือด | 3760 °C[1] |
โครงสร้าง | |
Hexagonal, hP5 | |
P-3m1, No. 164 | |
อุณหเคมี | |
ความจุความร้อน (C)
|
117.4 J•mol-1•K-1[1] |
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
-1809.6 kJ•mol-1 |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แอนไอออนอื่น ๆ
|
Praseodymium(III) chloride Praseodymium(III) sulfide |
แคทไอออนอื่น ๆ
|
Uranium(VI) oxide Neodymium(III) oxide Promethium(III) oxide |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
เพรซีโอดิเมียม(III) ออกไซด์ (อังกฤษ: Praseodymium(III) oxide) เป็นสารประกอบเคมีของเพรซีโอดิเมียม และออกซิเจน ที่มีสูตรว่า Pr2O3 มีรูปแบบเป็นผลึกหกเหลี่ยมสีขาว[1] เพรซีโอดิเมียม(III) ออกไซด์ตกผลึกในแมงกานีส(III) ออกไซด์ หรือโครงสร้างBixbyite[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 Lide, David R. (1998), Handbook of Chemistry and Physics (87 ed.), Boca Raton, FL: CRC Press, pp. 478, 523, ISBN 0-8493-0594-2
- ↑ Dabrowski, Jarek; Weber, Eicke R. (2004), Predictive Simulation of Semiconductor Processing, Springer, p. 264, ISBN 978-3-540-20481-7, สืบค้นเมื่อ 2009-03-18